เพาะชำกล้าเจียวกู่หลานเตรียมส่งให้กับเกษตร และปลูกในแปลงของโครงการรวม 2,500 กล้า และกำจัดวัชพืชแปลงปลูกเจียวกู่หลาน
ให้น้ำ ใส่ปุ๋ยขี้ไก่อัดเม็ด แปลงหม่อน แปลงมะเม่า แปลงฟักทอง มะขามป้อม
กำจัดวัชพืช ตัดแต่งกิ่ง ใส่ปุ๋ย ซ่อมแซมระบบน้ำแปลงมะนาวในวงบ่อ
เก็บผลผลิต มะเม่า 2 กก.สด มะขามป้อม 12 กก.สด และหม่อน 0.5 กก.
ดำเนินการปลูกต้นสตรอเบอรรี่ จำนวน 500 ต้น พื้นที่ประมาณ 100 ตรม.
ตัดหญ้าบริเวณพื้นที่ ร้านทรัพย์-ปัน ลานกางเตนท์ สำนักงาน บ้านพัก โรงสีข้าว โรงผัก โรงเห็ด อาคารคัดบรรจุ โรงแปรรูป นาขั้นบ้นได เเปลงไม้ 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง เนินกัวมังกร แปลงอนุรักษ์พันธุ์พืชและทำโคน ตัดแต่งกิ่ง ใส่ปุ๋ย พืขผักสวนครัว ไม้ผล ในสวรพอเพียง
เก็บผลผลิตเห็ดหูหนูเพื่ออบแห้ง และจำหน่าย ประมาณ 10 กก.สด
เก็บผลผลิตสปอร์เห็ดหลินจือ โรงที่ 5 ได้ผลผลิตประมาณ 4 กก.
ประชุมกลุ่มเกษตรกรเครือข่ายผู้ผลิตผัก GAP ในเรื่องแนวทางการตลาด และสรุปหัวข้อ กาดจริงใจ มาร์เก็ต
ลงพื้นที่เกษตรกรตำบลโป่งน้ำร้อน อำเภอฝาง และเกษตรกรตำบลศรีดงเย็น อำเภอไชยปราการ เพื่อติดตามและเยี่ยมแปลง
ดำเนินการติดตั้งกล้องหน้ารถยนต์ของโครงการ จำนวน 2 คัน
ต้อนรับเจ้าหน้าที่สถาบันอาหารสอบเทียบเครื่องมือ เครื่องชั่งต่างๆเพื่อประกันคุณภาพ
ดำเนินการคัดตัดแต่ง บรรจุภัณฑ์ ผลผลิตทรัพย์-ปัน
ดำเนินการลงพื้นที่ กลุ่มเกษตรกรเครือข่ายผู้ผลิตข้าว บ้านหัวฝาย ไชยปราการ ข้าวของเกษตรกรทั้ง 2 ราย หลังจากกำจัดเพลี้ยกระโดด จากนั้นเริ่มประสบปัญหาโรคใบจุด สีน้ำตาล จึงได้ปรึกษา อ.ไพโรจน์ และแนะนำการป้องกันกำจัดตามขั้นตอนต่อไป
ลงพื้นที่แปลง นางปรัชญารัตน์ เนื่องจาก ผักสลัดที่เป็นจำหน่ายหลัก เกิดโรคใบจุดระบาดหนัก จึงได้ผสาน ศูนย์ชีวินทรีย์ แนะนำการจัดการ และเก็บตัวอย่างไปจำแนกหาเชื้อสาเหตุที่แท้จริง
รายงานโดย : โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาเกษตรกรรมบนพื้นที่สูงของมูลนิธิชัยพัฒนา ต.โป่งน้ำร้อน อ.ฝาง จ.เชียงใหม่
ผู้รายงาน: สำนักสารสนเทศ