logochaipat

  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับ
    • ความเป็นมา
    • วัตถุประสงค์
    • แนวทางการดำเนินงาน
    • กิจกรรมหลักของมูลนิธิ
    • ตราสัญลักษณ์ของมูลนิธิ
    • คณะกรรมการมูลนิธิ
  • โครงการพระราชดำริ
    • ภาคเหนือตอนบน
    • ภาคเหนือตอนล่าง
    • ภาคกลางตะวันออก
    • ภาคกลางตะวันตก
    • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน
    • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง
    • ภาคใต้
    • โครงการกิจกรรมพิเศษ
  • เผยแพร่
    • วารสาร
    • เอกสารเผยแพร่
    • มัลติมีเดีย
    • โปสเตอร์
    • แบบพระอุโบสถวัดพระราม ๙
  • ข่าว
    • ข่าวสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
    • ข่าวผู้บริหารมูลนิธิชัยพัฒนา
    • ข่าวสารทั่วไป
    • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
    • รายงานความก้าวหน้าโครงการ
    • ระบบติดตามตรวจสอบย้อนกลับ Chaipattana Traceability QR Code
  • แนวคิดและทฤษฏี
    • แนวคิดและทฤษฎีเรื่องน้ำ
    • แนวคิดและทฤษฎีเรื่องดิน
    • น้ำดีไล่น้ำเสีย
    • ฝนหลวง
    • เครื่องดักหมอก
    • การพัฒนาและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
    • การพัฒนาสังคมและการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของประชาชน
    • ทฤษฏีการแก้ไขปัญหาน้ำท่วม
    • ทฤษฎีการพัฒนาฟื้นฟูป่าไม้
    • เส้นทางเกลือ
    • การบำบัดน้ำเสียด้วยพืชน้ำกับระบบการเติมอากาศ
    • การพัฒนาเพื่อพึ่งตนเองของเกษตรกร
    • ทฤษฎีใหม่
  • กังหันน้ำชัยพัฒนา
    • กังหันน้ำชัยพัฒนา RX-2
    • การขอความอนุเคราะห์การติดตั้ง
    • ระบบปรับปรุงคุณภาพน้ำด้วยพืช
    • การติดตั้งและบำรุงรักษา
  • บริจาค
  • 30ปีมูลนิธิชัยพัฒนา
    • 30 เรื่องพิเศษ
    • 8 ผลงานนักวาดภาพประกอบ
    • แรงบันดาลใจแห่งชัยชนะ
    • ภาพยนตร์สารคดี
    • เกี่ยวกับมูลนิธิชัยพัฒนา
    • กิจกรรมในงาน
    • จากนภาผ่านภูผาสู่มหานที
    TH Thai EN English |
facebook youtube tiktok icon
logochaipat mobile
facebook  youtube
  • หน้าแรก
  • เอกสารเผยแพร่
  • บทความที่น่าสนใจ
  • ชีวิตใหม่หลังฝันร้ายสึนามิ

ชีวิตใหม่หลังฝันร้ายสึนามิ

ฟ้าหลังฝนที่จะเปลี่ยนชีวิตชาวทุ่งนางดำตลอดกาล
๐ ปิยะฉัตร   ภมรสูต ๐

ใครจะเชื่อว่าเสียงเล็ก ๆ ที่ดูอ่อนละโหยโรงแรงของหญิงวัยกลางคนคนหนึ่งจะสามารถเปลี่ยนชะตาชีวิตของคนนับร้อยได้ นางรุณีย์   อารีย์สวัสดิ์ หรือที่ชาวบ้านทุ่งนางดำเรียกกันติดปากว่า ป้ารุณีย์ เล่า ให้เราฟังว่าหลังเกิดสึนามิเธอและเพื่อนบ้านลำบากมากเพราะสึนามิได้พัดพาเอา ทุกอย่างของเธอไป ทั้งบ้าน เรือ เครื่องมือหาเลี้ยงชีพ ไม่เว้นแม้แต่ลมหายใจของบุคคลอันเป็นที่รักหรือเพื่อนบ้านที่อยู่รวมกันมา นานกว่าสิบปี
ตอน ที่อยู่บ้านชั่วคราวตรงหินลาดลำบากมาก มีคนพยายามจะให้พวกป้าไปอยู่ที่สร้างใหม่ ติดทะเลเหมือนเดิม แต่ไกลออกไปอีก.....ป้าไม่อยากไป ไม่อยากอยู่ติดทะเลเพราะกลัว การเดินทางก็ลำบาก เป็นผู้หญิงจะไปยังไง แต่ถ้าไม่ไป ก็จะไม่มีที่อยู่ เพราะบ้านชั่วคราวที่อาศัยอยู่ตอนนี้พอหมดสัญญาก็ต้องคืนเขา ช่วงนั้นคิดมาก นอนร้องให้ทุกวัน หมดที่พึ่ง เลยตัดสินใจโทรไปขอความช่วยเหลือที่มูลนิธิชัยพัฒนา.....แต่ก่อนโทรก็มีคน เตือนว่า โทรไประวังจะติดคุก ตอนนั้นป้าคิดอะไรไม่ออกคิดอย่างเดียวว่า ตายเป็นตาย ถึงติดคุกก็ยอม

การ ตัดสินใจของป้ารุณีย์ในวันนั้นนำความเปลี่ยนแปลงอย่างยิ่งใหญ่มาสู่ชีวิตของ เธอและเพื่อนบ้านกว่า 23 ครอบครัวในวันนี้ ป้ารุณีย์เล่าต่อว่า.....โทรมาที่มูลนิธิฯ เดินทางมาหาเธอทันที อาจบังเอิญที่เจ้าหน้าที่มาดูพื้นที่เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยละแวกนั้นพอ ดีและก็โชคดีที่เจ้าหน้าที่ที่เธอคุยด้วยไม่นิ่งดูดายรับเรื่องและรีบโทร แจ้งเจ้าหน้าที่ที่ลงพื้นที่ให้ ทำให้ความหวังที่ริบหรี่ของเธอกลับขึ้นมามีแสงสว่างอีกครั้ง อย่างน้อยที่สุดก็พิสูจน์ได้ว่าการตัดสินที่ของเธอในวันนั้นเป็นสิ่งที่ถูก ต้อง ไม่มีคุกไม่มีตะรางหากแต่มีเพียงอนาคตใหม่ที่กำลังจะเริ่มต้นอีกไม่กี่เดือน ข้างหน้าเท่านั้น

นายลลิต   ถนอม สิงห์ ผู้อำนวยการสำนักบริหารโครงการ สำนักงานมูลนิธิชัยพัฒนา เป็นอีกผู้หนึ่งที่มีส่วนผลักดันในการเปลี่ยนแปลงชีวิตของป้ารุณีย์และชาว บ้านทุ่งนางดำเป็นอย่างมาก นายลลิตฯ เล่าว่า หลังจากไปเยี่ยมและสอบถามถึงเรื่องราวความเป็นมาแล้วก็เข้าใจถึงความเดือด ร้อน เข้าใจถึงความกลัวของชาวบ้านที่ไม่อยากกลับไปอยู่ในสภาพเดิมอีก เพราะภาพความบ้าคลั่งของคลื่นยักษ์สึนามิ ยังคงติดตาและยากที่จะลบความทรงจำอันเลวร้ายครั้งนั้นออกจากชีวิตชาวบ้านได้

พอกลับ มาก็รีบทำรายงานกราบบังคมทูลสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และในทันที่หลังจากทรงได้รับรายงานก็ได้พระราชทานสิ่งของช่วยเหลือ พร้อมทั้งให้สำนักงานมูลนิธิชัยพัฒนาดำเนินการจัดสร้างบ้านพักถาวรพร้อมระบบ สาธารณูปโภคต่าง ๆ ที่จำเป็นให้แก่ชาวบ้านกลุ่มดังกล่าว รวมไปถึงสนับสนุนเครื่องมือการประกอบอาชีพที่จำเป็น ฯลฯ ตลอดจนให้ความรู้ด้านอาชีพเสริมแก่ราษฎรยามว่างเว้นจากการทำประมงเพื่อเป็น การเพิ่มรายได้ และเหนือสิ่งอื่นใดก็คือการให้ชาวบ้านอยู่ดีกินดีสามารถพึ่งพาตนเองได้ในที่ สุด


จาก แนวพระราชดำริข้างต้นจึงได้เกิดโครงการชัยพัฒนา-กาชาดไทย-ศุภนิมิต ขึ้น ณ บ้านบางหว้า หมู่ที่ 9 ตำบลคุระบุรี อำเภอคุระบุรี จังหวัดพังงา จนเนื้อที่กว่า 5 ไร่ ด้วยความร่วมมือของสามผสานที่สำคัญคือ มูลนิธิชัยพัฒนา สภากาชาดไทย และมูลนิธิศุภนิมิตแห่งประเทศไทย รวมดำเนินงานสนองพระราชดำริ โดยมีตัวแทนจากภาคเอกชนคือกลุ่มนายช่างภูเก็ต ทำการออแบบและก่อสร้างบ้านพักถาวรจำนวน 23 หลัง พร้อมสิ่งสาธารณูปโภคต่าง ๆ เช่น อาคารเอนกประสงค์และลานกีฬาให้ชาวบ้านได้ใช้เป็นสถานที่ในการฝึกอบรมและสัน ทนาการร่วมกันอีกด้วย

ด้าน การจัดการสภาพแวดล้อมต่าง ๆ อันได้แก่บำบัดน้ำเสียและขยะได้รับความร่วมมือจากโครงการศึกษาวิจัยและพัฒนา สิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ยอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดเพชรบุรี เป็นผู้ดำเนินการสำรวจออกแบบให้ชุมชนอื่นตระหนักถึงความสำคัญในการบำบัดขยะ และน้ำเสียตามแนวพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

ไม่ เพียงแต่ที่อยู่อาศัยเท่านั้นที่ป้ารุณีย์และชาวบ้านทุ่งนางดำได้รับย้อน หลังไปเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2548 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จพระราชดำเนินมาทรงเยี่ยมราษฎรทั้ง 23 ครอบครัว ซึ่งในขณะนั้นอาศัยอยู่ที่บ้านพักชั่วคราวหน่วยบัญชาการทหารพัฒนา บ้านหินลาด จังหวัดพังงา พร้อมทั้งทอดพระเนตรการถักอวนลอยปูโดยฝีมือชาวบ้าน ซึ่งมูลนิธิชัยพัฒนาได้ให้ค่าตอบแทน และนำอวนที่ได้มอบให้แก่ผู้ประสบภัยในจังหวัดระนอง

นอก จากนี้เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา และเลขาธิการสภากาชาดไทย ยังได้เดินทางมามอบเรือไฟเบอร์กลาสให้แก่ชาวบ้านได้ทดลองใช้ ตามโครงการจัดสร้างและพัฒนาเรือประมงพื้นบ้านขนาดเล็กของมูลนิธิชัยพัฒนา โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้ทอดพระเนตรการทดสอบสมรรถภาพเรือพร้อมทั้งทรงลองประทับเรือด้วยพระองค์เอง อีกด้วย

และ วันนี้วันที่ชาวบ้านเฝ้ารออีกวันก็มาถึง วันที่ 27 ตุลาคม 2548 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จพระราชดำเนินมาทรงเปิดโครงการฯ ด้วยพระองค์เองพร้อมทั้งทอดพระเนตรบ้านพัก สภาพความเป็นอยู่และทรงเยี่ยมราษฎรของพระองค์ทรงให้ความเป็นกันเองในการไต่ ถามทุกข์สุขของชาวบ้าน การเสด็จพระราชดำเนินในครั้งนั้นยังความปลาบปลื้มมาสู่ชาวบ้านเป็นยิ่งนัก

มาบัดนี้ฟ้าหลังฝนเริ่มผ่านพ้นไปการเริ่มต้นวันใหม่กำลังจะเกิดขึ้น

อนาคต ที่เคยวาดฝันเอาไว้แต่กลับถูกสึนามิพังทลายจนเกือบมองไม่เห็น กำลังจะถูกสร้างขึ้นมาใหม่ด้วยพระมหากรุณาธิคุณที่เปี่ยมล้นของสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และที่ขาดไม่ได้คือแรงกายแรงใจของทุกฝ่ายที่ร่วมมือร่วมใจกันทำให้โครงการ ชัยพัฒนา-กาชาดไทย-ศุภนิมิต สำเร็จเป็นรูปเป็นร่าง

ป้า รุณีย์กับเพื่อนบ้าน 23 ครอบครัวพวกเขากำลังเริ่มต้นชีวิตใหม่ภายใต้ที่อยู่อาศัยที่มั่นคง สภาพแวดล้อมที่ดี มีเครื่องมือเครื่องใช้ที่จำเป็นในการประกอบอาชีพและเหนือสิ่งอื่นใดคือมี ความรู้ติดตัวไว้ใช้เสริมเพิ่มรายได้ให้แก่ครอบครัว เช่น การปลูกผักเพื่อใช้บริโภค การทำน้ำยาล้างจานและผลิตผ้ามัดย้อมเพื่อจำหน่ายรวมทั้งการผลิตปุ๋ยชีวภาพ จากเศษขยะในชุมชน เพื่อเป็นต้นแบบให้ราษฎรในชุมชนอื่นเกิดความตื่นตัวในการพัฒนาถิ่นอาศัยของ ตนให้พออยู่พอกิน สามารถพึ่งพาตนเองได้ ดังพระราชดำริใน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ทรงก่อตั้งมูลนิธิชัยพัฒนา ความว่า

...มูลนิธิ ชัยพัฒนา มีหน้าที่โดยตรงที่จะบรรเทาทุกข์แก่ประชาชนให้มีกินให้สามารถที่จะดำเนิน ชีวิตที่สร้างสรรค์โดยช่วยให้การที่มีสิ่งที่เป็นอุปกรณ์หรือจะเป็นสิ่งที่ เป็นปัจจัยให้สามารถที่จะทำมาหากินโดยมีประสิทธิภาพโดยเฉพาะเกี่ยวข้องกับ โครงการในด้านการเกษตรก็ได้ทำมากและในด้านเกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมก็ได้ทำ เพื่อที่จะให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตดีที่สุด....เป้าหมายก็คือความเจริญ รุ่งเรืองของประเทศชาติ ซึ่งถือว่าเป็นชัยชนะของประเทศนี้โดยงานของมูลนิธิชัยพัฒนานั้นก็คือความสงบ ...เป็นเมืองไทยที่มีความเจริญก้าวหน้า จนเป็นชัยชนะของการพัฒนาตามที่ได้ตั้งชื่อ มูลนิธิชัยพัฒนา ชัยของการพัฒนานี้มีจุดประสงค์คือความสงบ ความเจริญ ความอยู่ดีกินดี...

มุมมองที่เปลี่ยนไปของเด็กอาชีวะ 9 / 29 โรงงานสกัดน้ำมันปาล์ม
  • E-mail
  • ระบบงานภายใน
  • โครงสร้างเว็บไซต์
  • English
  • ติดต่อมูลนิธิ
  • สมัครงาน
  • แบบฟอร์มขอรับทุนพระราชทาน

ลิขสิทธิ์ © 2016-2017 มูลนิธิชัยพัฒนา (The Chaipattana Foundation) สงวนไว้ซึ่งสิทธิทั้งหมด

  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับ
    • ความเป็นมา
    • วัตถุประสงค์
    • แนวทางการดำเนินงาน
    • กิจกรรมหลักของมูลนิธิ
      • ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
      • ด้านการปรับปรุงคุณภาพสิ่งแวดล้อม
      • ด้านการพัฒนาการเกษตร
      • ด้านการพัฒนาสังคม
      • ด้านพลังงาน
      • ด้านอื่น ๆ
    • ตราสัญลักษณ์ของมูลนิธิ
    • คณะกรรมการมูลนิธิ
  • โครงการพระราชดำริ
    • ภาคเหนือตอนบน
    • ภาคเหนือตอนล่าง
    • ภาคกลางตะวันออก
    • ภาคกลางตะวันตก
    • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน
    • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง
    • ภาคใต้
    • โครงการกิจกรรมพิเศษ
      • โครงการปลูกผักปลอดภัยภายใต้มาตรฐาน GAP
      • โครงการบ้านนี้มีรักปลูกผักกินเอง
      • โครงการผลิตเมล็ดพันธุ์พระราชทานเพื่อนช่วยเพื่อน
  • เผยแพร่
    • วารสาร
      • วารสารมูลนิธิชัยพัฒนา
      • วารสารป่าชุมชนบ้านอ่างเอ็ด
      • วารสารโคกปรงพัฒนา
      • วารสารสวนป่าพฤกษพัฒน์ มูลนิธิชัยพัฒนา
      • หนังสืออื่นๆ ของมูลนิธิชัยพัฒนา
    • เอกสารเผยแพร่
      • เกร็ดความรู้
      • เศรษฐกิจพอเพียง
      • กังหันน้ำชัยพัฒนา RX-2
      • เครื่องกลเติมอากาศ RX-5C
      • แนะนำมูลนิธิ
      • สึนามิ
      • โครงการเยาวชนไทยร่วมใจชัยพัฒนา
      • ผลงานภาพวาดบ้านนี้มีรัก
    • มัลติมีเดีย
      • เรื่องเล่าถึงพ่อ...ผ่านบทสัมภาษณ์ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล
      • วีดีโอแนะนำโครงการต่าง ๆ
      • นิทานจันกะผัก
    • โปสเตอร์
      • โปสเตอร์เศรษฐกิจพอเพียง
      • โปสเตอร์กังหันน้ำชัยพัฒนา
      • โปสเตอร์แนะนำมูลนิธิชัยพัฒนา
    • แบบพระอุโบสถวัดพระราม ๙
      • รายชื่อวัดที่ขอใช้แบบพระอุโบสถ วัดพระราม ๙ฯ
  • ข่าว
    • ข่าวสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
    • ข่าวผู้บริหารมูลนิธิชัยพัฒนา
    • ข่าวสารทั่วไป
    • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
    • รายงานความก้าวหน้าโครงการ
      • รายงานความก้าวหน้าโครงการ
      • ภาคเหนือตอนบน
      • ภาคเหนือตอนล่าง
      • ภาคกลางตอนบน
      • ภาคกลางตอนล่าง
      • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
      • ภาคตะวันออก
      • ภาคใต้
      • โครงการพิเศษ
    • ระบบติดตามตรวจสอบย้อนกลับ Chaipattana Traceability QR Code
  • แนวคิดและทฤษฏี
    • แนวคิดและทฤษฎีเรื่องน้ำ
    • แนวคิดและทฤษฎีเรื่องดิน
    • น้ำดีไล่น้ำเสีย
    • ฝนหลวง
    • เครื่องดักหมอก
    • การพัฒนาและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
    • การพัฒนาสังคมและการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของประชาชน
    • ทฤษฏีการแก้ไขปัญหาน้ำท่วม
    • ทฤษฎีการพัฒนาฟื้นฟูป่าไม้
    • เส้นทางเกลือ
    • การบำบัดน้ำเสียด้วยพืชน้ำกับระบบการเติมอากาศ
    • การพัฒนาเพื่อพึ่งตนเองของเกษตรกร
    • ทฤษฎีใหม่
  • กังหันน้ำชัยพัฒนา
    • กังหันน้ำชัยพัฒนา RX-2
      • เครื่องกลเติมอากาศที่ผิวน้ำหมุนช้าแบบทุ่นลอย
      • พระราชดำริ
      • การศึกษา วิจัย และพัฒนา
      • คุณสมบัติ
      • หลักการทำงาน
      • สิทธิบัตรในพระปรมาภิไธย
    • การขอความอนุเคราะห์การติดตั้ง
      • หลักเกณฑ์
      • วิธีการและขั้นตอนการปฏิบัติ
      • การซ่อมบำรุงดูแลรักษาเครื่อง
      • การติดตามผลการดำเนินงานโครงการ
    • ระบบปรับปรุงคุณภาพน้ำด้วยพืช
      • ความสำคัญของทรัพยากรน้ำ
      • การเลือกพืชบำบัดน้ำเสียและการดูแลรางพืช
      • หลักการทั่วไปของระบบปรับปรุงคุณภาพน้ำด้วยพืช
      • พืชที่ไม่สามารถนำมาใช้ในงานปรับปรุงคุณภาพน้ำ
      • การดูแลระบบรางพืชกรองน้ำ (plantbed filter)
      • สิทธิบัตรในพระปรมาภิไธย
    • การติดตั้งและบำรุงรักษา
      • การติดตั้งเครื่องกลเติมอากาศ
      • การบำรุงรักษากังหันน้ำชัยพัฒนา
      • การบำรุงรักษาเครื่องกลเติมอากาศ RX-5C
      • การติดตั้งเครื่องกลเติมอากาศกรุงบรัสเซลล์
      • การติดตั้งเครื่องกลเติมอากาศวัดพุทธคยา
      • การติดตั้งเครื่องกลเติมอากาศวัดพุทธประทีป
      • การติดตั้งเครื่องกลเติมอากาศ ปตท. สาขาหนองแต่ง สปป.ลาว
  • บริจาค
  • 30ปีมูลนิธิชัยพัฒนา
    • 30 เรื่องพิเศษ
    • 8 ผลงานนักวาดภาพประกอบ
      • ภัทรพัฒน์
      • จากธรรมชาติ สู่ธรรมชาติ
      • “Harmony of Living” เปลี่ยนสุขภาพของโลกให้ดีขึ้น กับ Bloody Hell Big Head
      • “MIRRORS" ภาพสะท้อนของการช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ประสบภัย
      • “สายใย ชัยพัฒนา” คุณค่าของชีวิตสู่งานศิลปะสไตล์ THE DUANG
      • “Together” ความอบอุ่นของการได้อยู่ร่วมกัน
      • “Land of Luck” ดินแดนแห่งความโชคดี ภายใต้โครงการด้านการเกษตร ในมุมมองของ SIRI
      • “GIVE” เพราะการให้เงิน ไม่เท่าการให้ความรู้ ถอดบทเรียนจากโครงการด้านความร่วมมือระหว่างประเทศ
    • แรงบันดาลใจแห่งชัยชนะ
    • ภาพยนตร์สารคดี
    • เกี่ยวกับมูลนิธิชัยพัฒนา
      • ความเป็นมาของมูลนิธิ
      • ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
      • ด้านการปรับปรุงคุณภาพสิ่งแวดล้อม
      • ด้านการพัฒนาการเกษตร
      • ด้านพลังงาน
      • ด้านการช่วยเหลือผู้ประสบภัย
      • ด้านการเพิ่มศักยภาพทางการตลาดให้ชุมชน (ร้านภัทรพัฒน์)
      • หลักสูตรผู้นำการพัฒนาอย่างยั่งยืน
      • โครงการความร่วมมือระหว่างประเทศ
      • ด้านการพัฒนาสังคม
    • กิจกรรมในงาน
    • จากนภาผ่านภูผาสู่มหานที